วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ข้อสอบปรนัย5ข้อ
1. ระบบเครือข่ายที่แบ่งประเภทโดยพิจารณาจากการจัดโครงสร้างอุปกรณ์เป็นหลัก เรียกว่าอะไร
ก.การจัดรูปทรงระบบเครือข่าย (Topology)
ข.การรักษาเครือข่าย
ค.การาดูแลเครือข่าย
ง.ถูกทุกข้อ

2.ระบบเครือข่ายตามขนาดทางกายภาพของระยะทางในการส่งข้อมูลเป็นหลักได้แก่
ก.เครือข่ายเฉพาะบริเวณ (LAN)
ข.เครือข่ายในเขตเมือง (MAN)
ค.เครือข่ายวงกว้าง (WAN)
ง.ถูกทุกข้อ

3.ระบบเครือข่ายแบบดาว ประกอบด้วยคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เรียกว่า
ก.โฮสต์ (Host) หรือ เซิฟเวอร์
ข.ดาว
ค.ถูกทุกข้อ
ง.ไม่มีข้อถูก

4.ข้อใดไม่ใช่ระบบเครือข่ายตามขนาดทางกายภาพของระยะทางในการส่งข้อมูล
ก.เครือข่ายเฉพาะบริเวณ
ข.เครือข่ายในเขตเมือง
ค.เครือข่ายวงกว้าง
ง.ไม่มีข้อถูก

5.ระบบเครือข่ายแบบวงแหวน มีลักษณะอย่างไร
ก.ระบบเครือข่ายวงแหวนจะมีลักษณะคล้ายเครือข่ายบัสที่เอาปลายมาต่อกัน
ข.มีลักษณะเป็นวงกลมค.มีลักษณะสี่เหลี่ยม
ง.มีลักษณะวงรี

เฉลย 1. ก 2.ง 3.ก 4.ง 5.ก

URL

urlที่สนใจคือ
http://elearning.dusit.ac.th/xedu/Home.aspx
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตเเพราะมีการเรียนการสอนโดยการใช้ระบบอีเลิร์นนิงโดย e-Learning Center สวนดุสิต - 17 มิถุนายน 2551 16:01:57สำหรับคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตที่มีความประสงค์จะใช้ระบบอีเลิร์นนิ่งในการเรียนการสอน ซึ่งขณะนี้มีบทเรียนอีเลิร์นนิงในรูปแบบแอนิเมชั่นพร้อมใช้งาน จำนวน 100 วิชาสามารถดูตัวอย่างบทเรียนได้โดยใช้ Username:student@sdu Password:student@sduสนใจนำบทเรียนไปใช้ในการเรียนการสอนได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น ติดต่อแจ้งความประสงค์ได้ที่ e-Learning Center มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตตามที่อยู่ด้านล่างสนใจสมัครเข้าอบรมการใช้งานระบบอีเลิร์นนิง
ดูรายละเอียดและกรอกใบสัมครได้ที่นี่
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่e-Learning Center อาคารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น4 โทร.-Fax 02-2445315 เบอร์ภายใน 5315หรือ
http://elearning.dusit.ac.th/
e-mail : elearning@dusit.ac.thวิธีการใช้งานระบบอีเลิร์นนิง XEDU LMSท่านสามารถเรียนรู้การใช้งานระบบอีเลิร์นนิงของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตได้ด้วยตนเองและอยากมีการศึกษาเพิ่มเติมเรื่องการศึกษาเนื้อหาแอนิเมชั่น

e-learning

e-learning
http://e-learning.tu.ac.th/
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
http://e-learning.mfu.ac.th/
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
http://regelearning.payap.ac.th/
มหาวิทยาลัยพายัพ
http://elearning.utcc.ac.th/lms/main/default.asp
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
http://md.rmutk.ac.th/
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ
http://e-learning.kku.ac.th/
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
http://space.kbu.ac.th/el/index.asp
มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
http://elearning.dusit.ac.th/xedu/Home.aspx
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
http://sutonline.sut.ac.th/moodle/mod/resource/view.php?id=7790
มหวิทยาลัยเทคโนดลยีสุรนารี
http://www.academic.hcu.ac.th/e-learning/e-learning.html
มหวิทยาลัยหัวเฉลียวเฉลิมพระเกียรติ

คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชา(Course Description)
ความรู้เบื้องต้นเบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์กับเทอร์มินอล ชั้นของโปรโตคอลมาตรฐาน OSI รูปแบบต่าง ๆ ของเครือข่าย X.25 เนตเวิร์คและดิจิตอลเนตเวอร์ค การประมวลผลแบบตามลำดับและแบบขนาน การไปป์ไลน์ (Pipelining) การประมวลผลแบบเวคเตอร์ (Vector Processing) การประมวลผลแบบอะเรย์ (Array Processors) มัลติโปรเซสเชอร์ (Multiprocessor)และฟอลท์โทเลอร์แรนซ์ (Fault Tolerance)

วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2551

ข้อ1.

30 mbit ระยะทาง 45 km
1.Preformanc = ไม่ระบุ

2.BL = 30*45 =1,350

3.เลือก optical source
เลือก LED power ที่ -15
เพราะ ราคาประหยัด

4.เลือก optical fiber
เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km

5.เลือก optical detector
เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -60
เพราะ ราคาประหยัด

6.Lmax = Po – Por
แทนค่า (-15) - (-60)= 65

7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50

กำหนด Ls = 1db

กำหนด Pm = 6db

แทนค่า Lf = 65- (0.50 +1 +6= 57.50

8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 57.50
Lfimax = 2แทนค่า 57.50/2
= 28.75km

ข้อ 2

50 mbit ระยะทาง 100 km

1.Preformanc = ไม่ระบุ

2.BL = 50*100 = 5,000

3.เลือก optical source
เลือก LED power ที่ -20
เพราะ ราคาประหยัด

4.เลือก optical fiber
เลือก Graded Index Multimode
เพราะ ลองรับ BL แบร์นวิด ที่ 1.5 GHz/km

5.เลือก optical detector
เลือก PIN - FET มีค่า sensitivity -50
เพราะ ราคาประหยัด

6.Lmax = Po – Por
แทนค่า (-20) - (-50)= 70

7.Lf = Lmax (Lc + Ls + Pm)
กำหนด Lc = 0.50

กำหนด Ls = 1db

กำหนด Pm = 5db

แทนค่า Lf = 70- (0.50 +1 +5)= 31.75

8.Dmax = Lf/Lfimax
Lf = 63.50
Lfimax = 2แทนค่า 63.50/2
= 31.57km

วันอังคารที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

มาตรฐาน สาย Lan

มาตรฐานสายสัญญาณ
สมาคมอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์หรือ EIA (Electronics Industries Association) และสมาคมอุตสาหกรรมโทรคมนาคม (Telecommunicatio Industries Association) ได้ร่วมกันกำหนดมาตรฐาน EIA/TIA 568 ซึ่งเป็นมาตรฐานที่ใช้ในการผลิตสาย UTP โดยมาตรฐานนี้ได้แบ่งประเภทของสายออกเป็นหลายประเภท โดยแต่ละประเภทจะเรียกว่า Category N โดย N คือหมายเลขที่บอกประเภท ส่วนสถาบันมาตรฐานนานาชาติ (International Organization for Standardization) ได้กำหนดมาตรฐานนี้เช่นกัน โดยจะเรียกสายแต่ละประเภทเป็น Class A-F คุณสมบัติโดยทั่วไปของสายแต่ละประเภทเป็นดังนี้

Category 1/Class A : เป็นสายที่ใช้ได้กับระบบโทรศัพท์อย่างเดียว โดยสายนี้ไม่ สามารถใช้ในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอลได้ สายโทรศัพท์ที่ใช้ก่อนปี 1983 จะเป็นสายแบบ Cat 1
Category 2/Class B : เป็นสายที่รองรับแบนด์วิดท์ได้ถึง 4 MHz ซึ่งทำให้สามารถส่งข้อมูลแบบดิจิตอลได้ถึง 4 Mbps ซึ่งจะประกอบด้วยสายคู่เกลียวบิดอยู่ 4 คู่
Category 3/Class C : เป็นสายที่สามารถส่งข้อมูลได้ถึง 16 Mbps และมีสายคู่เกลียวบิดอยู่ 4 คู่

Category 4 : ส่งข้อมูลได้ถึง 20 Mbps และมีสายคู่เกลียวบิดอยู่ 4 คู่

Category 5/Class D : ส่งข้อมูลได้ถึง 100 Mbps โดยใช้ 2 คู่สาย และรับส่งข้อมูลได้ถึง 1000 Mbps เมื่อใช้ 4 คู่สาย

Category 5 Enhanced (5e) เช่นเดียวกับ Cat 5 แต่มีคุณภาพของสายที่ดีกว่า เพื่อรองรับการส่งข้อมูลแบบฟูลล์ดูเพล็กซ์ที่ 1000 Mbps ซึ่งใช้ 4 คู่สาย
Category 6/Class E : รองรับแบนด์วิดท์ได้ถึง 250 MHz

Category 7/Class F : รองรับแบนด์วิดท์ได้ถึง 600 MHz และกำลังอยู่ในระหว่างการ วิจัย

มาตรฐาน EIA/TIA 568 นั้นได้กำหนดคุณสมบัติต่างๆของสายสัญญาณ UTP ดังนี้
- ความต้านทาน (Impedance) : โดยทั่วไปจะกำหนดไว้ที่ 100 Ohm +15%
- ค่าสูญเสียสัญญาณ (Attenuation) : ของสายที่ความยาว 100 เมตรคืออัตราส่วนระหว่างกำลังสัญญาณที่ส่งต่อกำลังสัญญาณที่วัดได้ที่ปลายสาย โดยมีหน่วยเป็นเดซิเบล (dB)
- NEXT (Near-End Cross Talk) : เป็นค่าของสัญญาณรบกวนของสายคู่ส่งต่อสายคู่รับที่ฝั่งส่งสัญญาณ โดยวัดเป็นเดซิเบลเช่นกัน


- PS-NEXT (Power-Sum NEXT) : เป็นค่าที่คำนวณได้จากสัญญาณรบกวน NEXT ของสายอีก 3 คู่ ที่มีผลต่อสายคู่ที่วัด ค่านี้จะมีผลเมื่อใช้สายสัญญาณทั้งคู่ในการรับส่งสัญญาณ เช่น กิกะบิตอีเธอร์เน็ต
- FEXT (Far-End Cross Talk) : จะคล้ายกับ NEXT แต่เป็นการวัดค่าสัญญาณรบกวนที่ปลายสาย
- ELFEXT (Equal-Level Far-End Cross Talk) : เป็นค่าที่คำนวณได้จากค่าสูญเสียของสัญญาณ (Attenuation) ลบด้วยค่า FEXT ดังนั้นค่า ELFEXT ยิ่งสูงแสดงว่าค่าสูญเสียยิ่งสูงด้วย
- PS-ELFEXT (Power-Sum Equal-Level Far-End Cross Talk) : เป็นค่าที่คำนวณคล้ายๆกับค่า PS-NEXT คือเป็นค่าที่คำนวณได้จากการรวม ELFEXT ที่เกิดจากสายสามคู่ที่เหลือ
- Return Loss : เป็นค่าที่วัดได้จากอัตราส่วนระหว่างกำลังสัญญาณที่ส่งไปต่อกำลังสัญญาณที่สะท้อนกลับมายังต้นสาย
- Deley Skew : เนื่องจากสัญญาณเดินทางบนสายสัญญาณแต่ละคู่ด้วยเวลาที่ต่างกัน ค่าดีเลย์สกิวคือ ค่าแตกต่างระหว่างคู่ที่เร็วที่สุดกับคู่ที่ช้าที่สุด

PIN #

Signal

TIA/EIA 568A

TIA/EIA 568B

1

Transmit+

ขาวเขียว

ขาวส้ม

2

Transmit+

เขียว

ส้ม

3

Receive+

ขาวส้ม

ขาวเขียว

4

N/A

น้ำเงิน

น้ำเงิน

5

N/A

ขาวน้ำเงิน

ขาวน้ำเงิน

6

Receive+

ส้ม

เขียว

7

N/A

ขาวน้ำตาล

ขาวน้ำตาล

8

N/A

น้ำตาล

น้ำตาล




วันอาทิตย์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2551

อัตนัย 10 ข้อ

1.Mark 5 bit ของ Class A ได้กี่ Subnet
= 2^5 = 32 - 2 = 30 Subnet

2.Mark 6 bit ของ Claass B ได้กี่ subnet
= 2^6 = 64 - 2 = 62 Subnet

3.Mark 7 bit ของ Class C ได้กี่ Subnet
=2^7 = 128 - 2 = 126 Subnet

4.Mark 5 bit ของ Class A ได้กี่ Host
= 2^19 = 524288 - 2 = 524286 Host

5.Mark 6 bit ของ Class B ได้กี่ Host
= 2^10 = 1024 - 2 = 1022 Host

6.mark 6 bit ได้ class C หมายเลข subnetmark คือ อะไร
= 255.255.255.252 subnetmark

7.mark 7bit ได้ class B หมายเลข subnetmark คือ อะไร
= 255.255.254.0 subnetmark

8. mark 2 bit ได้ class C ได้กี่ host
=2^6=64-2=62 host

9.mark 4 bit ได้ class A หมายเลข subnet คือ อะไร
=2^22=4194304 - 2 = 4194302

10. mark 4 bit ได้ class B หมายเลข subnetmark คืออะไร
=2^9=512-2=510